IFSCC เฟ้นหาผลงานโดดเด่นต่อยอดอุตสาหกรรมเครื่องสำอางไทย
สมาคมนักเคมีเครื่องสำอางแห่งประเทศไทย เจ้าภาพจัดการประชุมสมาพันธ์นักเคมีเครื่องสำอางนานาชาติ 2011 (IFSCC) ครั้งที่ 21 ตั้งเป้าไทยเป็นศูนย์กลางความงามแห่งเอเชีย จัดโครงการประกวดผลงานวิจัย และแผนธุรกิจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง “World Cosmetics Young Business Challenge” เตรียมความพร้อม และเพิ่มศักยภาพนักเรียนนักศึกษาก่อนเข้าสู่อุตสาหกรรมเครื่องสำอางในอนาคต
พร้อมตัดสินผลงานในงานประชุมสมาพันธ์นักเคมีเครื่องสำอางนานาชาติ 2011 หรือ IFSCC 2011 เพื่อเปิดโอกาสให้แสดงผลงานวิจัยต่อนักเคมีเครื่องสำอาง และนักธุรกิจในแวดวงเครื่องสำอางจากนานาชาติ พร้อมชิงเงินรางวัลรวมมูลค่ากว่า 200,000 บาท และโอกาสในการต่อยอดพัฒนาผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาดจริง
นางสาวผ่องพรรณ เจียรวิริยะพันธ์ รองอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า ภาพรวมอุตสาหกรรมเครื่องสำอางไทยมีแนวโน้มการเติบโตสูง โดยปัจจุบันประเทศไทยมีมูลค่าเครื่องสำอางและส่งออกวัตถุดิบเคมีเครื่อง สำอาง จากสารสกัดจากพืชธรรมชาติ ประมาณ 115,000 ล้านบาท แบ่งเป็นตลาดภายในประเทศ 50,000 ล้านบาท และตลาดส่งออก 65,000 ล้านบาท ส่งผลให้ตลาดเครื่องสำอางไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของเอเชีย รองจากประเทศญี่ปุ่น และเกาหลี ตามลำดับ และอยู่ในอันดับที่ 16 ของโลก ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าเครื่องสำอางไทยได้รับการยอมรับจากชาวไทยและชาวต่าง ชาติมากขึ้น อุตสาหกรรมเครื่องสำอางไทยเป็นอุตสาหกรรมหนึ่งที่น่าจับตา และให้การสนับสนุน เนื่องจากสมุนไพรไทยมีชื่อเสียงในหมู่ชาวต่างชาติในด้านคุณสมบัติที่มี ประโยชน์ต่อร่างกายทั้งในด้านความงาม และสุขภาพ แต่ยังมีผู้ประกอบการน้อยรายที่สามารถสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์คุณภาพเพื่อสร้าง ชื่อเสียง และนำส่งออกไปตลาดต่างประเทศได้ ดังนั้น ทางกรมการค้าต่างประเทศ จึงเล็งเห็นว่าโครงการประกวดผลงานวิจัยและแผนธุรกิจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ไทยภายใต้ชื่อ “World Cosmetics Young Business C hallenge”
สมาคมนักเคมีเครื่องสำอางแห่งประเทศไทย เจ้าภาพจัดการประชุมสมาพันธ์นักเคมีเครื่องสำอางนานาชาติ 2011 (IFSCC) ครั้งที่ 21 ตั้งเป้าไทยเป็นศูนย์กลางความงามแห่งเอเชีย จัดโครงการประกวดผลงานวิจัย และแผนธุรกิจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง “World Cosmetics Young Business Challenge” เตรียมความพร้อม และเพิ่มศักยภาพนักเรียนนักศึกษาก่อนเข้าสู่อุตสาหกรรมเครื่องสำอางในอนาคต พร้อมตัดสินผลงานในงานประชุมสมาพันธ์นักเคมีเครื่องสำอางนานาชาติ 2011 หรือ IFSCC 2011 เพื่อเปิดโอกาสให้แสดงผลงานวิจัยต่อนักเคมีเครื่องสำอาง และนักธุรกิจในแวดวงเครื่องสำอางจากนานาชาติ พร้อมชิงเงินรางวัลรวมมูลค่ากว่า 200,000 บาท และโอกาสในการต่อยอดพัฒนาผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาดจริง
นางสาวผ่องพรรณ เจียรวิริยะพันธ์ รองอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า ภาพรวมอุตสาหกรรมเครื่องสำอางไทยมีแนวโน้มการเติบโตสูง โดยปัจจุบันประเทศไทยมีมูลค่าเครื่องสำอางและส่งออกวัตถุดิบเคมีเครื่อง สำอาง จากสารสกัดจากพืชธรรมชาติ ประมาณ 115,000 ล้านบาท แบ่งเป็นตลาดภายในประเทศ 50,000 ล้านบาท และตลาดส่งออก 65,000 ล้านบาท ส่งผลให้ตลาดเครื่องสำอางไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของเอเชีย รองจากประเทศญี่ปุ่น และเกาหลี ตามลำดับ และอยู่ในอันดับที่ 16 ของโลก ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าเครื่องสำอางไทยได้รับการยอมรับจากชาวไทยและชาวต่าง ชาติมากขึ้น อุตสาหกรรมเครื่องสำอางไทยเป็นอุตสาหกรรมหนึ่งที่น่าจับตา และให้การสนับสนุน เนื่องจากสมุนไพรไทยมีชื่อเสียงในหมู่ชาวต่างชาติในด้านคุณสมบัติที่มี ประโยชน์ต่อร่างกายทั้งในด้านความงาม และสุขภาพ แต่ยังมีผู้ประกอบการน้อยรายที่สามารถสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์คุณภาพเพื่อสร้าง ชื่อเสียง และนำส่งออกไปตลาดต่างประเทศได้ ดังนั้น ทางกรมการค้าต่างประเทศ จึงเล็งเห็นว่าโครงการประกวดผลงานวิจัยและแผนธุรกิจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ไทยภายใต้ชื่อ “World Cosmetics Young Business C hallenge” จึงเป็นโครงการที่ดี ที่ช่วยสนับสนุนบุคลากรในวงการอุตสาหกรรมเครื่องสำอางให้พร้อมเปิดตลาดการ แข่งขันระดับนานาชาติ?
รศ. ดร. พรรณวิภา กฤษฎาพงษ์ ประธานคณะกรรมการ สมาคมนักเคมีเครื่องสำอางแห่งประเทศไทย ผู้จัดงานประชุมสมาพันธ์นักเคมีเครื่องสำอางนานาชาติ 2011 หรือ IFSCC 2011 เปิดเผยว่า จากแนวโน้มการเติบโตอย่างต่อเนื่องของอุตสาหกรรมเครื่องสำอางไทย ประกอบกับประเทศไทยเป็นแหล่งวัตถุดิบเครื่องสำอางจากพืชธรรมชาติที่มีคุณภาพ สูง ทางสมาคมฯ ซึ่งเป็นหนึ่งในฐานะภาควิชาการจึงเล็งเห็นศักยภาพการเติบโตของอุตสาหกรรมนี้ รวมทั้งต้องการผลักดันให้ภาคอุตสาหกรรมเครื่องสำอางไทยก้าวขึ้นเป็นศูนย์ กลางความงามแห่งเอเชีย (Beauty & Wellness Hub of Asia) จึงได้จัดโครงการประกวดผลงานและแผนธุรกิจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไทยภายใต้ ชื่อ “World Cosmetics Young Business Challenge” ขึ้นเพื่อเตรียมความพร้อม และเพิ่มศักยภาพของนักเรียนนักศึกษาก่อนลงแข่งขันในตลาดจริง โดยโครงการประกวดผลงานและแผนธุรกิจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไทยเป็นโครงการที่ มุ่งเน้นและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียนและนักศึกษา และเปิดโอกาสให้ผู้ที่สนใจร่วมส่งผลงานวิจัยเครื่องสำอางประเภทใดก็ได้ภาย ใต้แนวคิด 3E คือ Effective, Economic และ Ecological หรือ ประสิทธิภาพ ประหยัด และปกป้องสิ่งแวดล้อม โดยผู้ที่สนใจสามารถส่งผลงานผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ใช้ได้ผลจริง ราคาคุ้มค่า และไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมกับออกแบบบรรจุภัณฑ์ และวางแผนธุรกิจ การทำตลาดผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง โดยผลงานที่เข้ารอบ 10 ชิ้น จะได้รับการนำเสนอผลงานในงาน “IFSCC 2011 Conference” และ “In-Cosmetics Asia” เพื่อตัดสินผู้ชนะ รับรางวัลทุนการศึกษารวมมูลค่ากว่า 200,000 บาท
รศ. ดร. พรรณวิภา กล่าวเพิ่มเติมว่า โครงการประกวดนี้ นอกจากจะสนับสนุนความรู้ความสามารถของเยาวชนไทย พร้อมฝึกทักษะความคิดทางด้านการวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการวางแผนการตลาด เพื่อเพิ่มพูนศักยภาพการแข่งขันในตลาดแล้ว ยังช่วยเปิดโอกาสให้เยาวชนไทยได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักวิจัยเคมี เครื่องสำอางจากนานาชาติ พร้อมนำเสนอผลงานสู่สายตานักธุรกิจ และบุคคลในแวดวงวิชาชีพอุตสาหกรรมเคมีเครื่องสำอาง และความงามนานาชาติที่จะมาร่วมงานประชุมสมาพันธ์นักเคมีเครื่องสำอางนานา ชาติ 2011 ในครั้งนี้อีกด้วย
นางภคพรรณ ลีวุฒินันท์ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท นู สกิน เอ็นเตอร์ไพร์ส (ประเทศไทย) จำกัด ในฐานะอุปนายกสมาคมนักเคมีเครื่องสำอางแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า ที่ผ่านมาสมาคมนักเคมีเครื่องสำอางแห่งประเทศไทย ร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และกระทรวงสาธารณสุข ได้ดำเนินโครงการนำร่องในการต่อยอดผลงานวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไทย ด้วยการนำสารสกัดจากเมล็ดลำไยมาผลิตเป็นผลิตภัณฑฑ์บำรุงผิวภายใต้ชื่อ “Longanaria Siamese” (ลองแกนนาเรีย ไซแอมมิส) ซึ่งถือเป็นงานวิจัยที่ก้าวล้ำไปอีกขั้นของนวัตกรรมเครื่องสำอางไทยที่ผสม ผสานความลงตัวระหว่างพืชผลทางการเกษตรไทยอย่าง “ลำไย” โดยนำเมล็ดลำไยที่เหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมการเกษตรมาสร้างมูลค่าเพิ่ม หลังจากค้นพบว่าเมล็ดลำไยมีคุณสมบัติต่อต้านอนุมูลอิสระประสิทธิภาพสูง จึงช่วยชะลอริ้วรอย และเพิ่มความชุ่มชื่นให้ผิว ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์บำรุงผิวลองแกนนาเรีย ไซแอมมิส ได้รับการสนับสนุนจาก นู สกิน ในการวางแผนการตลาด และออกจำหน่ายจริง จนได้รับการตอบรับดีจากผู้บริโภคมียอดขายสูงถึง 1,000,000 บาท
“ความสำเร็จจากการต่อยอดผลงานวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์บำรุงผิวสารสกัดจากเมล็ดลำไย ทำให้สมุนไพรไทย และวงการเครื่องสำอางไทยเป็นที่ยอมรับ และรู้จักแพร่หลายมากขึ้น ซึ่งทางสมาคมฯ มีความเชื่อมั่นว่าบุคลากรในวงการนักเคมีเครื่องสำอางไทยล้วนแต่เป็นผู้มี ความสามารถแต่ขาดโอกาสนำเสนอผลงานให้รู้จักบนเวทีระดับโลก และขาดการสนับสนุนในด้านการวางแผนการตลาดอย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งประเทศไทยยังเป็นแหล่งที่อุดมด้วยทรัพยากรที่มีคุณค่า โดยเฉพาะสมุนไพรไทยที่ชาวไทยและชาวต่างชาติเริ่มให้การยอมรับ ขาดแต่การนำมาศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้เป็น ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพมาตรฐานระดับสากล ดังนั้น โครงการ “World Cosmetics Young Business Challenge” จึงเป็นโครงการที่จะช่วยส่งเสริมให้เยาวชนไทยพร้อมเดินเข้าสู่ธุรกิจและวง การอุตสาหกรรมเครื่องสำอางในอนาคต และพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่จะนำความภาคภูมิใจมาสู่คนไทยต่อไป” นางภคพรรณ กล่าวสรุป
?
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 0-2693-7835 ต่อ 25 บริษัท สยาม พีอาร์ คอนซัลแทนท์ จำกัด
ขอขอบคุณเนื้อหาข่าว คุณภาพดี โดย: ไทยพีอาร์ ดอทเน็ต
จึงเป็นโครงการที่ดี
ที่ช่วยสนับสนุนบุคลากรในวงการอุตสาหกรรมเครื่องสำอางให้พร้อมเปิดตลาดการ
แข่งขันระดับนานาชาติ?
รศ. ดร. พรรณวิภา กฤษฎาพงษ์ ประธานคณะกรรมการ สมาคมนักเคมีเครื่องสำอางแห่งประเทศไทย ผู้จัดงานประชุมสมาพันธ์นักเคมีเครื่องสำอางนานาชาติ 2011 หรือ IFSCC 2011 เปิดเผยว่า จากแนวโน้มการเติบโตอย่างต่อเนื่องของอุตสาหกรรมเครื่องสำอางไทย ประกอบกับประเทศไทยเป็นแหล่งวัตถุดิบเครื่องสำอางจากพืชธรรมชาติที่มีคุณภาพ สูง ทางสมาคมฯ ซึ่งเป็นหนึ่งในฐานะภาควิชาการจึงเล็งเห็นศักยภาพการเติบโตของอุตสาหกรรมนี้ รวมทั้งต้องการผลักดันให้ภาคอุตสาหกรรมเครื่องสำอางไทยก้าวขึ้นเป็นศูนย์ กลางความงามแห่งเอเชีย (Beauty & Wellness Hub of Asia) จึงได้จัดโครงการประกวดผลงานและแผนธุรกิจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไทยภายใต้ ชื่อ “World Cosmetics Young Business Challenge” ขึ้นเพื่อเตรียมความพร้อม และเพิ่มศักยภาพของนักเรียนนักศึกษาก่อนลงแข่งขันในตลาดจริง โดยโครงการประกวดผลงานและแผนธุรกิจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไทยเป็นโครงการที่ มุ่งเน้นและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียนและนักศึกษา และเปิดโอกาสให้ผู้ที่สนใจร่วมส่งผลงานวิจัยเครื่องสำอางประเภทใดก็ได้ภาย ใต้แนวคิด 3E คือ Effective, Economic และ Ecological หรือ ประสิทธิภาพ ประหยัด และปกป้องสิ่งแวดล้อม โดยผู้ที่สนใจสามารถส่งผลงานผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ใช้ได้ผลจริง ราคาคุ้มค่า และไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมกับออกแบบบรรจุภัณฑ์ และวางแผนธุรกิจ การทำตลาดผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง โดยผลงานที่เข้ารอบ 10 ชิ้น จะได้รับการนำเสนอผลงานในงาน “IFSCC 2011 Conference” และ “In-Cosmetics Asia” เพื่อตัดสินผู้ชนะ รับรางวัลทุนการศึกษารวมมูลค่ากว่า 200,000 บาท
รศ. ดร. พรรณวิภา กล่าวเพิ่มเติมว่า โครงการประกวดนี้ นอกจากจะสนับสนุนความรู้ความสามารถของเยาวชนไทย พร้อมฝึกทักษะความคิดทางด้านการวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการวางแผนการตลาด เพื่อเพิ่มพูนศักยภาพการแข่งขันในตลาดแล้ว ยังช่วยเปิดโอกาสให้เยาวชนไทยได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักวิจัยเคมี เครื่องสำอางจากนานาชาติ พร้อมนำเสนอผลงานสู่สายตานักธุรกิจ และบุคคลในแวดวงวิชาชีพอุตสาหกรรมเคมีเครื่องสำอาง และความงามนานาชาติที่จะมาร่วมงานประชุมสมาพันธ์นักเคมีเครื่องสำอางนานา ชาติ 2011 ในครั้งนี้อีกด้วย
นางภคพรรณ ลีวุฒินันท์ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท นู สกิน เอ็นเตอร์ไพร์ส (ประเทศไทย) จำกัด ในฐานะอุปนายกสมาคมนักเคมีเครื่องสำอางแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า ที่ผ่านมาสมาคมนักเคมีเครื่องสำอางแห่งประเทศไทย ร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และกระทรวงสาธารณสุข ได้ดำเนินโครงการนำร่องในการต่อยอดผลงานวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไทย ด้วยการนำสารสกัดจากเมล็ดลำไยมาผลิตเป็นผลิตภัณฑฑ์บำรุงผิวภายใต้ชื่อ “Longanaria Siamese” (ลองแกนนาเรีย ไซแอมมิส) ซึ่งถือเป็นงานวิจัยที่ก้าวล้ำไปอีกขั้นของนวัตกรรมเครื่องสำอางไทยที่ผสม ผสานความลงตัวระหว่างพืชผลทางการเกษตรไทยอย่าง “ลำไย” โดยนำเมล็ดลำไยที่เหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมการเกษตรมาสร้างมูลค่าเพิ่ม หลังจากค้นพบว่าเมล็ดลำไยมีคุณสมบัติต่อต้านอนุมูลอิสระประสิทธิภาพสูง จึงช่วยชะลอริ้วรอย และเพิ่มความชุ่มชื่นให้ผิว ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์บำรุงผิวลองแกนนาเรีย ไซแอมมิส ได้รับการสนับสนุนจาก นู สกิน ในการวางแผนการตลาด และออกจำหน่ายจริง จนได้รับการตอบรับดีจากผู้บริโภคมียอดขายสูงถึง 1,000,000 บาท
“ความสำเร็จจากการต่อยอดผลงานวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์บำรุงผิวสารสกัดจากเมล็ดลำไย ทำให้สมุนไพรไทย และวงการเครื่องสำอางไทยเป็นที่ยอมรับ และรู้จักแพร่หลายมากขึ้น ซึ่งทางสมาคมฯ มีความเชื่อมั่นว่าบุคลากรในวงการนักเคมีเครื่องสำอางไทยล้วนแต่เป็นผู้มี ความสามารถแต่ขาดโอกาสนำเสนอผลงานให้รู้จักบนเวทีระดับโลก และขาดการสนับสนุนในด้านการวางแผนการตลาดอย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งประเทศไทยยังเป็นแหล่งที่อุดมด้วยทรัพยากรที่มีคุณค่า โดยเฉพาะสมุนไพรไทยที่ชาวไทยและชาวต่างชาติเริ่มให้การยอมรับ ขาดแต่การนำมาศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้เป็น ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพมาตรฐานระดับสากล ดังนั้น โครงการ “World Cosmetics Young Business Challenge” จึงเป็นโครงการที่จะช่วยส่งเสริมให้เยาวชนไทยพร้อมเดินเข้าสู่ธุรกิจและวง การอุตสาหกรรมเครื่องสำอางในอนาคต และพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่จะนำความภาคภูมิใจมาสู่คนไทยต่อไป” นางภคพรรณ กล่าวสรุป
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 0-2693-7835 ต่อ 25 บริษัท สยาม พีอาร์ คอนซัลแทนท์ จำกัด
ขอขอบคุณเนื้อหาข่าว คุณภาพดี โดย: ไทยพีอาร์ ดอทเน็ต
สมาคมนักเคมีเครื่องสำอางแห่งประเทศไทย เจ้าภาพจัดการประชุมสมาพันธ์นักเคมีเครื่องสำอางนานาชาติ 2011 (IFSCC) ครั้งที่ 21 ตั้งเป้าไทยเป็นศูนย์กลางความงามแห่งเอเชีย จัดโครงการประกวดผลงานวิจัย และแผนธุรกิจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง “World Cosmetics Young Business Challenge” เตรียมความพร้อม และเพิ่มศักยภาพนักเรียนนักศึกษาก่อนเข้าสู่อุตสาหกรรมเครื่องสำอางในอนาคต
พร้อมตัดสินผลงานในงานประชุมสมาพันธ์นักเคมีเครื่องสำอางนานาชาติ 2011 หรือ IFSCC 2011 เพื่อเปิดโอกาสให้แสดงผลงานวิจัยต่อนักเคมีเครื่องสำอาง และนักธุรกิจในแวดวงเครื่องสำอางจากนานาชาติ พร้อมชิงเงินรางวัลรวมมูลค่ากว่า 200,000 บาท และโอกาสในการต่อยอดพัฒนาผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาดจริง
นางสาวผ่องพรรณ เจียรวิริยะพันธ์ รองอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า ภาพรวมอุตสาหกรรมเครื่องสำอางไทยมีแนวโน้มการเติบโตสูง โดยปัจจุบันประเทศไทยมีมูลค่าเครื่องสำอางและส่งออกวัตถุดิบเคมีเครื่อง สำอาง จากสารสกัดจากพืชธรรมชาติ ประมาณ 115,000 ล้านบาท แบ่งเป็นตลาดภายในประเทศ 50,000 ล้านบาท และตลาดส่งออก 65,000 ล้านบาท ส่งผลให้ตลาดเครื่องสำอางไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของเอเชีย รองจากประเทศญี่ปุ่น และเกาหลี ตามลำดับ และอยู่ในอันดับที่ 16 ของโลก ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าเครื่องสำอางไทยได้รับการยอมรับจากชาวไทยและชาวต่าง ชาติมากขึ้น อุตสาหกรรมเครื่องสำอางไทยเป็นอุตสาหกรรมหนึ่งที่น่าจับตา และให้การสนับสนุน เนื่องจากสมุนไพรไทยมีชื่อเสียงในหมู่ชาวต่างชาติในด้านคุณสมบัติที่มี ประโยชน์ต่อร่างกายทั้งในด้านความงาม และสุขภาพ แต่ยังมีผู้ประกอบการน้อยรายที่สามารถสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์คุณภาพเพื่อสร้าง ชื่อเสียง และนำส่งออกไปตลาดต่างประเทศได้ ดังนั้น ทางกรมการค้าต่างประเทศ จึงเล็งเห็นว่าโครงการประกวดผลงานวิจัยและแผนธุรกิจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ไทยภายใต้ชื่อ “World Cosmetics Young Business C hallenge”
สมาคมนักเคมีเครื่องสำอางแห่งประเทศไทย เจ้าภาพจัดการประชุมสมาพันธ์นักเคมีเครื่องสำอางนานาชาติ 2011 (IFSCC) ครั้งที่ 21 ตั้งเป้าไทยเป็นศูนย์กลางความงามแห่งเอเชีย จัดโครงการประกวดผลงานวิจัย และแผนธุรกิจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง “World Cosmetics Young Business Challenge” เตรียมความพร้อม และเพิ่มศักยภาพนักเรียนนักศึกษาก่อนเข้าสู่อุตสาหกรรมเครื่องสำอางในอนาคต พร้อมตัดสินผลงานในงานประชุมสมาพันธ์นักเคมีเครื่องสำอางนานาชาติ 2011 หรือ IFSCC 2011 เพื่อเปิดโอกาสให้แสดงผลงานวิจัยต่อนักเคมีเครื่องสำอาง และนักธุรกิจในแวดวงเครื่องสำอางจากนานาชาติ พร้อมชิงเงินรางวัลรวมมูลค่ากว่า 200,000 บาท และโอกาสในการต่อยอดพัฒนาผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาดจริง
นางสาวผ่องพรรณ เจียรวิริยะพันธ์ รองอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า ภาพรวมอุตสาหกรรมเครื่องสำอางไทยมีแนวโน้มการเติบโตสูง โดยปัจจุบันประเทศไทยมีมูลค่าเครื่องสำอางและส่งออกวัตถุดิบเคมีเครื่อง สำอาง จากสารสกัดจากพืชธรรมชาติ ประมาณ 115,000 ล้านบาท แบ่งเป็นตลาดภายในประเทศ 50,000 ล้านบาท และตลาดส่งออก 65,000 ล้านบาท ส่งผลให้ตลาดเครื่องสำอางไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของเอเชีย รองจากประเทศญี่ปุ่น และเกาหลี ตามลำดับ และอยู่ในอันดับที่ 16 ของโลก ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าเครื่องสำอางไทยได้รับการยอมรับจากชาวไทยและชาวต่าง ชาติมากขึ้น อุตสาหกรรมเครื่องสำอางไทยเป็นอุตสาหกรรมหนึ่งที่น่าจับตา และให้การสนับสนุน เนื่องจากสมุนไพรไทยมีชื่อเสียงในหมู่ชาวต่างชาติในด้านคุณสมบัติที่มี ประโยชน์ต่อร่างกายทั้งในด้านความงาม และสุขภาพ แต่ยังมีผู้ประกอบการน้อยรายที่สามารถสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์คุณภาพเพื่อสร้าง ชื่อเสียง และนำส่งออกไปตลาดต่างประเทศได้ ดังนั้น ทางกรมการค้าต่างประเทศ จึงเล็งเห็นว่าโครงการประกวดผลงานวิจัยและแผนธุรกิจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ไทยภายใต้ชื่อ “World Cosmetics Young Business C hallenge” จึงเป็นโครงการที่ดี ที่ช่วยสนับสนุนบุคลากรในวงการอุตสาหกรรมเครื่องสำอางให้พร้อมเปิดตลาดการ แข่งขันระดับนานาชาติ?
รศ. ดร. พรรณวิภา กฤษฎาพงษ์ ประธานคณะกรรมการ สมาคมนักเคมีเครื่องสำอางแห่งประเทศไทย ผู้จัดงานประชุมสมาพันธ์นักเคมีเครื่องสำอางนานาชาติ 2011 หรือ IFSCC 2011 เปิดเผยว่า จากแนวโน้มการเติบโตอย่างต่อเนื่องของอุตสาหกรรมเครื่องสำอางไทย ประกอบกับประเทศไทยเป็นแหล่งวัตถุดิบเครื่องสำอางจากพืชธรรมชาติที่มีคุณภาพ สูง ทางสมาคมฯ ซึ่งเป็นหนึ่งในฐานะภาควิชาการจึงเล็งเห็นศักยภาพการเติบโตของอุตสาหกรรมนี้ รวมทั้งต้องการผลักดันให้ภาคอุตสาหกรรมเครื่องสำอางไทยก้าวขึ้นเป็นศูนย์ กลางความงามแห่งเอเชีย (Beauty & Wellness Hub of Asia) จึงได้จัดโครงการประกวดผลงานและแผนธุรกิจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไทยภายใต้ ชื่อ “World Cosmetics Young Business Challenge” ขึ้นเพื่อเตรียมความพร้อม และเพิ่มศักยภาพของนักเรียนนักศึกษาก่อนลงแข่งขันในตลาดจริง โดยโครงการประกวดผลงานและแผนธุรกิจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไทยเป็นโครงการที่ มุ่งเน้นและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียนและนักศึกษา และเปิดโอกาสให้ผู้ที่สนใจร่วมส่งผลงานวิจัยเครื่องสำอางประเภทใดก็ได้ภาย ใต้แนวคิด 3E คือ Effective, Economic และ Ecological หรือ ประสิทธิภาพ ประหยัด และปกป้องสิ่งแวดล้อม โดยผู้ที่สนใจสามารถส่งผลงานผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ใช้ได้ผลจริง ราคาคุ้มค่า และไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมกับออกแบบบรรจุภัณฑ์ และวางแผนธุรกิจ การทำตลาดผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง โดยผลงานที่เข้ารอบ 10 ชิ้น จะได้รับการนำเสนอผลงานในงาน “IFSCC 2011 Conference” และ “In-Cosmetics Asia” เพื่อตัดสินผู้ชนะ รับรางวัลทุนการศึกษารวมมูลค่ากว่า 200,000 บาท
รศ. ดร. พรรณวิภา กล่าวเพิ่มเติมว่า โครงการประกวดนี้ นอกจากจะสนับสนุนความรู้ความสามารถของเยาวชนไทย พร้อมฝึกทักษะความคิดทางด้านการวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการวางแผนการตลาด เพื่อเพิ่มพูนศักยภาพการแข่งขันในตลาดแล้ว ยังช่วยเปิดโอกาสให้เยาวชนไทยได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักวิจัยเคมี เครื่องสำอางจากนานาชาติ พร้อมนำเสนอผลงานสู่สายตานักธุรกิจ และบุคคลในแวดวงวิชาชีพอุตสาหกรรมเคมีเครื่องสำอาง และความงามนานาชาติที่จะมาร่วมงานประชุมสมาพันธ์นักเคมีเครื่องสำอางนานา ชาติ 2011 ในครั้งนี้อีกด้วย
นางภคพรรณ ลีวุฒินันท์ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท นู สกิน เอ็นเตอร์ไพร์ส (ประเทศไทย) จำกัด ในฐานะอุปนายกสมาคมนักเคมีเครื่องสำอางแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า ที่ผ่านมาสมาคมนักเคมีเครื่องสำอางแห่งประเทศไทย ร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และกระทรวงสาธารณสุข ได้ดำเนินโครงการนำร่องในการต่อยอดผลงานวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไทย ด้วยการนำสารสกัดจากเมล็ดลำไยมาผลิตเป็นผลิตภัณฑฑ์บำรุงผิวภายใต้ชื่อ “Longanaria Siamese” (ลองแกนนาเรีย ไซแอมมิส) ซึ่งถือเป็นงานวิจัยที่ก้าวล้ำไปอีกขั้นของนวัตกรรมเครื่องสำอางไทยที่ผสม ผสานความลงตัวระหว่างพืชผลทางการเกษตรไทยอย่าง “ลำไย” โดยนำเมล็ดลำไยที่เหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมการเกษตรมาสร้างมูลค่าเพิ่ม หลังจากค้นพบว่าเมล็ดลำไยมีคุณสมบัติต่อต้านอนุมูลอิสระประสิทธิภาพสูง จึงช่วยชะลอริ้วรอย และเพิ่มความชุ่มชื่นให้ผิว ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์บำรุงผิวลองแกนนาเรีย ไซแอมมิส ได้รับการสนับสนุนจาก นู สกิน ในการวางแผนการตลาด และออกจำหน่ายจริง จนได้รับการตอบรับดีจากผู้บริโภคมียอดขายสูงถึง 1,000,000 บาท
“ความสำเร็จจากการต่อยอดผลงานวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์บำรุงผิวสารสกัดจากเมล็ดลำไย ทำให้สมุนไพรไทย และวงการเครื่องสำอางไทยเป็นที่ยอมรับ และรู้จักแพร่หลายมากขึ้น ซึ่งทางสมาคมฯ มีความเชื่อมั่นว่าบุคลากรในวงการนักเคมีเครื่องสำอางไทยล้วนแต่เป็นผู้มี ความสามารถแต่ขาดโอกาสนำเสนอผลงานให้รู้จักบนเวทีระดับโลก และขาดการสนับสนุนในด้านการวางแผนการตลาดอย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งประเทศไทยยังเป็นแหล่งที่อุดมด้วยทรัพยากรที่มีคุณค่า โดยเฉพาะสมุนไพรไทยที่ชาวไทยและชาวต่างชาติเริ่มให้การยอมรับ ขาดแต่การนำมาศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้เป็น ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพมาตรฐานระดับสากล ดังนั้น โครงการ “World Cosmetics Young Business Challenge” จึงเป็นโครงการที่จะช่วยส่งเสริมให้เยาวชนไทยพร้อมเดินเข้าสู่ธุรกิจและวง การอุตสาหกรรมเครื่องสำอางในอนาคต และพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่จะนำความภาคภูมิใจมาสู่คนไทยต่อไป” นางภคพรรณ กล่าวสรุป
?
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 0-2693-7835 ต่อ 25 บริษัท สยาม พีอาร์ คอนซัลแทนท์ จำกัด
ขอขอบคุณเนื้อหาข่าว คุณภาพดี โดย: ไทยพีอาร์ ดอทเน็ต
รศ. ดร. พรรณวิภา กฤษฎาพงษ์ ประธานคณะกรรมการ สมาคมนักเคมีเครื่องสำอางแห่งประเทศไทย ผู้จัดงานประชุมสมาพันธ์นักเคมีเครื่องสำอางนานาชาติ 2011 หรือ IFSCC 2011 เปิดเผยว่า จากแนวโน้มการเติบโตอย่างต่อเนื่องของอุตสาหกรรมเครื่องสำอางไทย ประกอบกับประเทศไทยเป็นแหล่งวัตถุดิบเครื่องสำอางจากพืชธรรมชาติที่มีคุณภาพ สูง ทางสมาคมฯ ซึ่งเป็นหนึ่งในฐานะภาควิชาการจึงเล็งเห็นศักยภาพการเติบโตของอุตสาหกรรมนี้ รวมทั้งต้องการผลักดันให้ภาคอุตสาหกรรมเครื่องสำอางไทยก้าวขึ้นเป็นศูนย์ กลางความงามแห่งเอเชีย (Beauty & Wellness Hub of Asia) จึงได้จัดโครงการประกวดผลงานและแผนธุรกิจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไทยภายใต้ ชื่อ “World Cosmetics Young Business Challenge” ขึ้นเพื่อเตรียมความพร้อม และเพิ่มศักยภาพของนักเรียนนักศึกษาก่อนลงแข่งขันในตลาดจริง โดยโครงการประกวดผลงานและแผนธุรกิจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไทยเป็นโครงการที่ มุ่งเน้นและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียนและนักศึกษา และเปิดโอกาสให้ผู้ที่สนใจร่วมส่งผลงานวิจัยเครื่องสำอางประเภทใดก็ได้ภาย ใต้แนวคิด 3E คือ Effective, Economic และ Ecological หรือ ประสิทธิภาพ ประหยัด และปกป้องสิ่งแวดล้อม โดยผู้ที่สนใจสามารถส่งผลงานผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ใช้ได้ผลจริง ราคาคุ้มค่า และไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมกับออกแบบบรรจุภัณฑ์ และวางแผนธุรกิจ การทำตลาดผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง โดยผลงานที่เข้ารอบ 10 ชิ้น จะได้รับการนำเสนอผลงานในงาน “IFSCC 2011 Conference” และ “In-Cosmetics Asia” เพื่อตัดสินผู้ชนะ รับรางวัลทุนการศึกษารวมมูลค่ากว่า 200,000 บาท
รศ. ดร. พรรณวิภา กล่าวเพิ่มเติมว่า โครงการประกวดนี้ นอกจากจะสนับสนุนความรู้ความสามารถของเยาวชนไทย พร้อมฝึกทักษะความคิดทางด้านการวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการวางแผนการตลาด เพื่อเพิ่มพูนศักยภาพการแข่งขันในตลาดแล้ว ยังช่วยเปิดโอกาสให้เยาวชนไทยได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักวิจัยเคมี เครื่องสำอางจากนานาชาติ พร้อมนำเสนอผลงานสู่สายตานักธุรกิจ และบุคคลในแวดวงวิชาชีพอุตสาหกรรมเคมีเครื่องสำอาง และความงามนานาชาติที่จะมาร่วมงานประชุมสมาพันธ์นักเคมีเครื่องสำอางนานา ชาติ 2011 ในครั้งนี้อีกด้วย
นางภคพรรณ ลีวุฒินันท์ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท นู สกิน เอ็นเตอร์ไพร์ส (ประเทศไทย) จำกัด ในฐานะอุปนายกสมาคมนักเคมีเครื่องสำอางแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า ที่ผ่านมาสมาคมนักเคมีเครื่องสำอางแห่งประเทศไทย ร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และกระทรวงสาธารณสุข ได้ดำเนินโครงการนำร่องในการต่อยอดผลงานวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไทย ด้วยการนำสารสกัดจากเมล็ดลำไยมาผลิตเป็นผลิตภัณฑฑ์บำรุงผิวภายใต้ชื่อ “Longanaria Siamese” (ลองแกนนาเรีย ไซแอมมิส) ซึ่งถือเป็นงานวิจัยที่ก้าวล้ำไปอีกขั้นของนวัตกรรมเครื่องสำอางไทยที่ผสม ผสานความลงตัวระหว่างพืชผลทางการเกษตรไทยอย่าง “ลำไย” โดยนำเมล็ดลำไยที่เหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมการเกษตรมาสร้างมูลค่าเพิ่ม หลังจากค้นพบว่าเมล็ดลำไยมีคุณสมบัติต่อต้านอนุมูลอิสระประสิทธิภาพสูง จึงช่วยชะลอริ้วรอย และเพิ่มความชุ่มชื่นให้ผิว ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์บำรุงผิวลองแกนนาเรีย ไซแอมมิส ได้รับการสนับสนุนจาก นู สกิน ในการวางแผนการตลาด และออกจำหน่ายจริง จนได้รับการตอบรับดีจากผู้บริโภคมียอดขายสูงถึง 1,000,000 บาท
“ความสำเร็จจากการต่อยอดผลงานวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์บำรุงผิวสารสกัดจากเมล็ดลำไย ทำให้สมุนไพรไทย และวงการเครื่องสำอางไทยเป็นที่ยอมรับ และรู้จักแพร่หลายมากขึ้น ซึ่งทางสมาคมฯ มีความเชื่อมั่นว่าบุคลากรในวงการนักเคมีเครื่องสำอางไทยล้วนแต่เป็นผู้มี ความสามารถแต่ขาดโอกาสนำเสนอผลงานให้รู้จักบนเวทีระดับโลก และขาดการสนับสนุนในด้านการวางแผนการตลาดอย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งประเทศไทยยังเป็นแหล่งที่อุดมด้วยทรัพยากรที่มีคุณค่า โดยเฉพาะสมุนไพรไทยที่ชาวไทยและชาวต่างชาติเริ่มให้การยอมรับ ขาดแต่การนำมาศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้เป็น ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพมาตรฐานระดับสากล ดังนั้น โครงการ “World Cosmetics Young Business Challenge” จึงเป็นโครงการที่จะช่วยส่งเสริมให้เยาวชนไทยพร้อมเดินเข้าสู่ธุรกิจและวง การอุตสาหกรรมเครื่องสำอางในอนาคต และพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่จะนำความภาคภูมิใจมาสู่คนไทยต่อไป” นางภคพรรณ กล่าวสรุป
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 0-2693-7835 ต่อ 25 บริษัท สยาม พีอาร์ คอนซัลแทนท์ จำกัด
ขอขอบคุณเนื้อหาข่าว คุณภาพดี โดย: ไทยพีอาร์ ดอทเน็ต
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น